วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557

กิจกรรม เรื่องการจำแนกประเภทของสาร




คำถาม    ถ้านักเรียนจัด  หิน เหล็ก แก้ว ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน แสดงว่านักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการจําแนกสารดังกล่าว  ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

26 ความคิดเห็น:

เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 08:57 , Blogger มู่ กล่าวว่า...

หลักเกณฑ์การจัด คือ ของแข็ง

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 08:58 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

หลักเกณฑ์การ จำแนก ของแข็ง

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:02 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:02 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ อทิตยา เผ้าหอม
ใช้เกนฑ์ในการจำแนกคือ สถานะของสารเป็นเกนฑืในการแบ่ง:)

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:04 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ.ชัญญา เหลืองทิพากร
ใช้สถานะของสารในการจำแนกสารดังกล่าวคะ:)

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:05 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

นภัทร เพียรหมอ ใช้เกณฑ์จำแนกสถานะของสาร

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:06 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.ณกัญญณรมณ์ ธานัท ใช้สถานนะในการจำแนกสารดังกล่าว ซึ่ง หิน เหล็ก แก้ว อยู่ในสถานนะของแข็ง :)

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:06 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ.สิริวิมล ออมสิน หลักการจัด คือ ของแข็ง

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:09 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:12 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.สุวรรณวลี เลขวรรณวิเศษ คือของเข็งๆ

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:14 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.รินรดา สุภีคำ ใช้เกณฑ์ทางองค์ประกอบของสาร

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 09:15 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.พิยดา จันทร์พุ่ม คือของเเข็งค่ะ

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 12:33 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

นภัทร เพียรหมอ แก้ว หิน เหล็ก เป็นของเเข็ง

 
เวลา 21 สิงหาคม 2557 เวลา 18:14 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ. อรุณกมล ทองเเท้ คิดว่า หลักเกณฑ์การจัด คือ ของเเข็ง

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 09:07 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.รินรดา สุภีคำ ให้ความคิดเห็นว่า ใช้หลักเกณฑ์ของแข็ง ดูจากองค์ประกอนของสารที่ใช้ล้วนแต่เป็นของแข็งทั้งสิ้น หินเกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่สลายตัวแล้วจับตัวกับเป็นของแข็ง(หิน) เหล็กเกิดจากสารที่มีลักษณะแข็งเอามาหลอมรวมกัน แก้วเกิดจากทราย จึงใช้หลักเกณฑ์ของแข็งเป็นตัวกำหนด

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 09:08 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 09:08 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.สุวรรณวลี เลขวรรณวิเศษ หิน เหล็ก เเก้ว ของเเข็ง เพราะดูจากองค์ประกอบของสารที่ใช้ล้วนเเต่เป็นของหินทั้งสิ้น หินเกิดจากซากพืชซากสัตว์ เหล็กเกิดจากสารที่มีลักาณะเเข็งเอามาหลอมรวมกัน
เเก้วเกิดจากการเย็นตัวอย่างฉับพลันของวัตถุหลอมหนืด

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 09:12 , Blogger มู่ กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 09:12 , Blogger มู่ กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 22 สิงหาคม 2557 เวลา 18:25 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ. อรุณกมล ทองเเท้ คิดว่า ใช้หลักเกณฑ์ คือ ของเเข็ง เพราะ หิน เหล็ก เเก้ว เป็นของที่เเข็งเหมือนกันหมด

 
เวลา 24 สิงหาคม 2557 เวลา 16:52 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 24 สิงหาคม 2557 เวลา 16:57 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ.ชัญญา เหลืองทิพากร
ใช้เกณฑ์สถานะในการจำแนกสารดังกล่าวคะ ซึ่งสารดังกล่าวนั้นจัดอยู่ในสถานะของแข็งคะ โดยหินเกิดจากธรรมชาติซึ่งเป็นสารผสมที่เกิดจากการเกาะกันแน่นของแร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดเป็นต้นไป หรือเกิดจากสารผสมของแร่กับแก้วภูเขาไฟ หรือเกิดจากแร่กับซากดึกดำบรรพ์ ส่วนเหล็กเกิดจากการแปรสภาพของแร่แล้วนำมาหลอมให้เป็นรูปร่างตามที่ต้องการ และแก้วเกิดจากการเย็นตัวลงอย่างฉับพลันของวัสดุหลอมหนืดคะ:)

 
เวลา 29 สิงหาคม 2557 เวลา 07:51 , Blogger มู่ กล่าวว่า...

ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

 
เวลา 29 สิงหาคม 2557 เวลา 07:53 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.ตรีทิพยนิภา เหมรักษ์
หลักเกณฑ์การจำแนกของแข็งเพราะทุกอย่างนี้มีความแข็งแรงทนทานเหมือนกันถ้าใช้การจำแกวัตถุที่นำไฟฟ้าก็จะจำแนกได้ไม่หมดเพราะแก้วไม่นำไฟฟ้า

 
เวลา 29 สิงหาคม 2557 เวลา 08:07 , Anonymous ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ด.ญ.พิยดา จันทร์พุ่ม ให้วามิดเห็นว่า หลักเกณฑ์ของเเข็งเพราะ ซากพืชซากสัตว์ที่มารวมตัวกันในปัจจุบันก็ยกตัวอย่างประกอบเช่น หิน เเก้ว เหล็ก ตะกั่ว หรือลูมิเนียม เป็นต้น เเละของเเข็งสามารถนำไฟฟ้าได้บางชนิดเช่น เหล็กกับอลูมิเนียม

 
เวลา 29 สิงหาคม 2557 เวลา 08:20 , Blogger Unknown กล่าวว่า...

ด.ญ.ฑิณัฎฐา ปัญญาเกิด
ใช้หลักเกรฑ์ในการจำเเนก เพราะ ของดังกล่าวมีอนุภาคติดกันหนาเเน่น ไม่มีการเปลี่ยนเเปลงรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุค่ะ

 

แสดงความคิดเห็น

สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]

<< หน้าแรก