วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เว็บไซต์เพิ่มเติม การแยกสาร

เว็บไซต์เพิ่มเติม การจำแนกประเภทของสาร

เว็บไซต์เพิ่มเติม การลอยและการจมของวัตถุ

เว็บไซต์เพิ่มเติม ความดันของอากาศและความดันของเหลว







เว็บไซต์เพิ่มเติม ปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง เรื่องท่อลำเลียงและปากใบของพืช

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์ แบบทดสอบเบญจมราชานุสรณ์
1. การกรองควรใช้กับสารประเภทใด
ของแข็งกับของเหลว
ของเหลวกับของเหลว
ของแข็งกับแก๊ส
ของเหลวกับแก๊ส
2. การใช้กรวยแยกควรใช้กับสารได้
น้ำกับน้ำมัน
น้ำแดงกับโซดา
น้ำเชื่อม
น้ำส้มสายชู
3. สารใดสามารถระเหิดได้
น้ำแข็ง
ไอศกรีม
การบูร
ข้อ 1 และ 2 ถูก
4. การตกผลึกสามารถเกิดขึ้นกับสารใดต่อไปนี้
ข้อ 3 ถูก
ผิดทุกข้อ
น้ำตาล
ถูกทุกข้อ
5. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการทำโครมาโตกราฟี
สารต่างชนิดกันถูกดูดซับโดยตัวดูดซับได้ดีไม่เท่ากันสารที่ถูกดูดซับได้ดีจะเคลื่อนที่ได้ช้า
สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดี และถูกดูดซับน้อยจะเคลื่อนที่ได้เร็วไปได้ไกล
สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้ดี ไม่เท่ากัน สารที่ละลายได้ดีจะเคลื่อนที่ไปได้เร็ว
ถูกทุกข้อ
6. การแยกน้ำกับน้ำมันควรใช้การแยกแบบใด
การกรอง
กรวยแยก
โครมาโตกราฟี
ตกผลึก
7. การใช้อำนาจแม่เหล็กควรใช้แยกสารใด
ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงกำมะถัน
ทรายกับดินเหนียว
น้ำตาลกับเกลือ
เรดกับโซดา
8. การแยกสารเนื้อเดียวมีกี่ประเภท
2 ประเภท
6 ประเภท
4 ประเภท
ถูกทุกข้อ
9. การแยกสารเนื้อผสมมีกี่ประเภท
9 ประเภท
8 ประเภท
7 ประเภท
6 ประเภท
10. การกลั่นใช้กับสารใด
น้ำกับน้ำทะเล
ทรายกับน้ำ
เกลือกับน้ำตาล
น้ำกับน้ำมัน
11. ข้อใดคือประโยชน์ของโครมาโตกราฟี
ใช้ในการแยกสารเนื้อเดียวที่มีส่วนผสมหลาย ๆ ชนิด ให้ได้เป็นสารบริสุทธิ์
ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณและชนิดของสาร
ใช้ทดสอบหรือแยกสารตัวอย่างที่มีปริมาณน้อย ๆ ได้
ถูกทุกข้อ
12. จากรูปเป็นการแยกสารแบบใด
การกรอง
การตะกอน
การกลั่น
ถูกทุกข้อ
ผลคะแนน =
เฉลยคำตอบ:

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการแยกสาร

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการแยกสาร

คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว


แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
1. การกรองควรใช้กับสารประเภทใด
ของแข็งกับของเหลว
ของเหลวกับของเหลว
ของแข็งกับแก๊ส
ของเหลวกับแก๊ส

2. การใช้กรวยแยกควรใช้กับสารได้
น้ำกับน้ำมัน
น้ำแดงกับโซดา
น้ำเชื่อม
น้ำส้มสายชู

3. สารใดสามารถระเหิดได้
น้ำแข็ง
ไอศกรีม
การบูร
ข้อ 1 และ 2 ถูก

4. การตกผลึกสามารถเกิดขึ้นกับสารใดต่อไปนี้
แป้ง
ครีม
น้ำตาล
ถูกทุกข้อ

5. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการทำโครมาโตกราฟี
สารต่างชนิดกันถูกดูดซับโดยตัวดูดซับได้ดีไม่เท่ากันสารที่ถูกดูดซับได้ดีจะเคลื่อนที่ได้ช้า
สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดี และถูกดูดซับน้อยจะเคลื่อนที่ได้เร็วไปได้ไกล
สารต่างชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้ดี ไม่เท่ากัน สารที่ละลายได้ดีจะเคลื่อนที่ไปได้เร็ว
ถูกทุกข้อ

6. การแยกน้ำกับน้ำมันควรใช้การแยกแบบใด
การกรอง
กรวยแยก
โครมาโตกราฟี
ตกผลึก

7. การใช้อำนาจแม่เหล็กควรใช้แยกสารใด
ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงกำมะถัน
ทรายกับดินเหนียว
น้ำตาลกับเกลือ
เรดกับโซดา

8. การแยกสารเนื้อเดียวมีกี่ประเภท
2 ประเภท
6 ประเภท
4 ประเภท
ถูกทุกข้อ

9. การแยกสารเนื้อผสมมีกี่ประเภท
9 ประเภท
8 ประเภท
7 ประเภท
6 ประเภท

10. การกลั่นใช้กับสารใด
น้ำกับน้ำทะเล
ทรายกับน้ำ
เกลือกับน้ำตาล
น้ำกับน้ำมัน

ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการจำแนกประเภทของสาร

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการจำแนกประเภทของสาร

คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. สถานะของสารเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
1 ประเภท
2 ประเภท
3 ประเภท
4 ประเภท
2. ข้อแตกต่างระหว่างสารผสมกับสารเนื้อผสม คือ
สารที่มีองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งส่วน สารที่มองไม่เป็นเนื้อเดียวหรือ องค์ประกอบเดียว
สารผสมมีองค์ประกอบตั้งแต่ 2 ส่วนขึ้นไป ซึ่งอาจจะมองเห็นเพียง ส่วนเดียวหรือหลายส่วนก็ได้
สารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียว และถ้าตรวจสอบสมบัติของสารจะเหมือนกันทุกส่วน
สารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
3. ระเหิด ไม่มีขั้นตอนอะไร
ไม่มีการหลอมเหลว
ไม่มีการบินได้
ไม่มีเป็นของแข็ง
ไม่มีการเป็นธาตุอากาศ
4. ข้อใดเป็นคอลลอยด์ทั้งหมด
เมฆ , อินมันซิฟายเออร์
อิมัลชัน , เนย
ซอล , นม
เจล ,โฟม , แอโรซอล
5. สารแขวนลอย คือข้อใด
น้ำโคลน
น้ำอัดลม
น้ำแร่
น้ำค้าง
6. การนำสารที่ต้องการตรวจสอบไปหาจุดเดือด สารนั้นต้องมีลักษณะอย่า'ไร
เป็นคอลลอยล์
เป็นเนื้อผสมเท่านั้น
เป็นเป็นเนื้อเดียวที่เป็นของเหลว
เป็นของเหลวเท่านั้น
7. ถ้าสารที่นำมาตรวจสอบเป็นของแข็ง มีวิธีการตรวจสอบคือ
นำไปหาจุดหลอมเหลว
นำไปต้ม
นำไประเหิด
โดยการให้ความร้อน
8. ทองเหลือง ใช้อะไรเป็นตัวทำละลาย
สังกะสี
ทอง
เหล็ก
อะลูมีเนียม
9. ผลที่เกิดขึ้นถ้าสารที่นำมาตรวจสอบเป็นของแข็ง
ช่วงการหลอมเหลวกว้างสารนั้นเป็นสารละลาย
ช่วงการหลอมเหลวแคบสารนั้นเป็นสารละลาย
ช่วงการหลอมเหลวกว้างสารนั้นเป็นสารละลาย
ช่วงการหลอมเหลวแคบสารนั้นเป็นสารละลาย
10. สารแขวนลอย ไม่สามารถผ่านอะไรได้
กระดาษเซลโลเฟน
กระดาษเซลโลเฟน
กระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน
กระดาษกรองและกระดาษบิสมัท
ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการจมและการลอยของวัตถุ

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องการจมและการลอยของวัตถุ
คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
1. การลอยและการจมของวัตถุ หมายถึงอะไร
เป็นแรงดันขึ้นของน้ำที่กระทำต่อวัตถุที่ลงไปในน้ำ
เป็นแรงดันลงของน้ำที่กระทำต่อวัตถุที่ลงไปในน้ำ
เป็นแรงดันของน้ำ
เป็นแรงที่กระทำต่อวัตถุ

2. ถ้าน้ำหนักของวัตถุมีค่าน้อยกว่าแรงลอยตัวจะทำให้วัตถุเป็นอย่างไร
วัตถุจะจม
วัตถุจะลอย
วัตถุจะแตก
ไม่มีข้อใดถูก

3. ถ้าน้ำหนักของวัตถุมีค่ามากกว่าแรงลอยตัววัตถุจะเป็นอย่างไร
วัตถุจะจม
วัตถุจะลอย
วัตถุจะแตก
ไม่มีข้อใดถูก

4. เมื่อหย่อนวัตถุลงไปในน้ำวัตถุจะถูกแรงใดกระทำ
แรงเสียดทาน
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงดัน
แรงกดอากาศ

5. ถ้าเรากดวัตถุที่ลอยน้ำลงไปใต้น้ำแล้วปล่อยมือ วัตถุนั้นจะเป็นอย่างไร
กลับขึ้นสู่ผิวน้ำอย่างช้า
ตกถึงพื้นน้ำ
กลับขึ้นสู่ผิวน้ำอีกอย่างรวดเร็ว
ถูกทั้ง 1,2 และ 3

6. แรงดันขึ้นของน้ำที่พยุงวัตถุไว้ เรียกว่า
แรงดัน
แรงเสียดทาน
แรงลม
แรงลอยตัว

7. แรงลอยตัวนำไปใช้ประโยชน์ในการทำสิ่งใด
ด้านการเกษตร
ด้านการขนส่ง
ด้านการประดิษฐ์
ไม่มีข้อใดถูก

8. จากข้อ 7 ยกตัวอย่างได้เช่นอะไรบ้าง
เสื่้อ
ชูชีพ
เรือ
ถูกทุกข้อ

9. วัตถุนั้นจะลอยน้ำได้ น้ำหนักต้องมีค่าอย่างไร
ถ้าน้ำหนักของวัตถุมีค่าน้อยกว่าแรงลอยตัว
ถ้าน้ำหนักของวัตถุไม่มีค่า
ถ้าน้ำหนักของวัตถุมีค่ามากกว่าแรงลอยตัว
ถูกทั้งข้อ2,3

10. เมื่อหย่อนวัตถุลงไปในน้ำวัตถุจะถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงลงในลักษณะใด
ขึ้นด้านบน
ลอยเป็นแนวขวาง
ไปด้านหลัง
ดึงลงด้านล่าง

ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องความดันของอากาศและความดันของเหลว

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องความดันของอากาศและความดันของเหลว
คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
1. อากาศ คือ อะไร
อากาศเป็นสิ่งที่มีตัวตน
มีน้ำหนัก
ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้
อากาศเป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้ำหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ น้ำหนักของอากาศมีแรงกดหรือแรงดัน อนุภาคของอากาศ
2. "เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างอิสระ และตลอดเวลาในทุกทิศทาง โดยจะเคลื่อนที่ชนกันเองและชนกับวัตถุต่าง ๆ ที่ล้อมรอบ ทำให้เกิดแรงดัน รอบทิศทาง” เรียกอีกอย่างว่าอะไร
แรงดันอากาศ
แรงดันน้ำ
แรงดันไฟ
ไม่มีข้อถูก
3. แรงดันอากาศ หมายถึง อะไร
แรงที่อากาศกระทำต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ที่รองรับแรงดัน
แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุในทุกทิศทาง
อนุภาคของอากาศ
อากาศเคลื่อนที่ไปมาได้อย่างอิสระ
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงดันอากาศ
การดันกล่อง
การเป่าลูกโป่ง
การใส่รองเท้า
สายยางฉีดน้ำ
5. ความดันอากาศ หมายถึง อะไร
แรงที่อากาศกระทำต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ที่รองรับแรงดัน
แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุในทุกทิศทาง
อนุภาคของอากาศ
อากาศเคลื่อนที่ไปมาได้อย่างอิสระ
6. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันอากาศ
ขนาดของแรงที่กระทำ
พื้นที่ที่ถูกแรงกระทำ
ความดัน
ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.
7. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแรงดันอากาศ
การโยนหิน
การดูดน้ำออกจากแก้ว
การดูดของเหลวเข้าหลอดหยด
กาลักน้ำ
8. ข้อใดเป็นประโยชน์ของแรงดันอากาศ
การโยนหิน
แป้นยางดูดติดกระจก
การตีแบต
ไม่มีข้อใดถูก
9. “การถ่ายของเหลวโดยสายยางจากภาชนะหนึ่งไปยังอีกภาชนะหนึ่งที่อยู่ต่างระดับกัน” เรียกว่า อะไร
การดูดน้ำ
การตักน้ำ
แป้นยางดูดติดกระจก
กาลักน้ำ
10. เพราะเหตุใด แป้นยางจึงดูดติดกับกระจก
นำกาวมาทาไว้
นำสก๊อตเทปมาแปะ
ความดันอากาศภายนอกมากกว่าความดันอากาศภายในแป้นยาง
ความดันอากาศภายในแป้นยางมากกว่าความดันอากาศภายนอก
ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องปัจจัยบ้างประการที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว



แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
1. ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก คือดินอะไร
ดินเหนียว
ดินร่วน
ดินทราย
ไม่มีคำตอบ
2. อะไรที่มีส่วนช่วยละลายแร่ธาตุอาหารในดิน
ดิน
อากาศ
ปุ๋ย
น้ำ
3. ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อพืชมีกี่ธาตุ
16
14
12
10
4. ธาตุที่พืชต้องการมากและในดินมักมีไม่เพียงพอ คือธาตุใด
ไนโตรเจน
ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
5. แก๊สที่พืชต้องการมากคืออะไร
ออกซิเจน
ออกซิเจน
คาร์บอนไดออกไซด์
ถูกทั้งข้อ ก และ ค
6. ถ้าพืชขาดแสงแดดจะเกิดเหตุใดขึ้น
เจริญเติบโตได้ดี
ดูดซึมน้ำได้มากขึ้น
พืชจะแคระแก่น และตาย
ไม่มีข้อใดถูก
7. ปัจจัยที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมีอะไรบ้าง
ดิน น้ำ อากาศ
แสงแดด
แร่ธาตุ
ถูกทุกข้อ
8. วิธีใดที่ทำให้ดินสมบูรณ์
พรวนดิน
การเผาหน้าดิน
การปล่อยให้วัชพืชอยู่ร่วมกับพืช
การใช้ยาฆ่าแมลง
9. ช่องว่างระหว่างเม็ดดินเป็นที่อยู่ของอะไร
แร่ธาตุ
น้ำ
ตะกอน
ซากของสิ่งมีชีวิต
10. ดินร่วนซุยมีสารประเภทใดบ้าง
สารอนินทรีย์
สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์
สารอินทรีย์
ไม่มีข้อใดถูก
ผลคะแนน =

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่อง ท่อลำเลียงและปากใบของพืช

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่องท่อลำเลียงและปากใบของพืช
คำสั่ง 
แบบทดสอบมีทั้งหมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว



แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
1. พืชดูดน้ำและแร่ธาตุทางใด
ลำต้น
ขนราก
ปากใบ
กิ่ง
2. ระบบลำเลียงในพืชจะแบ่งเป็นท่อลำเลียงน้ำ เรียกว่าอะไร
โฟลเอ็ม (Phloem )
ไซเล็ม (Xylem )
ปากใบ ( Stoma )
เซลล์คุม (Guard Cell )
3. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว จะมีท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหารอยู่บริเวณใด
กระจายอยู่ทั่วลำต้น
ลำต้น
ราก
กระจายอยู่ทั่วปากใบ
4. การคายน้ำของพืช จะคายน้ำที่ส่วนไหน
ลำต้น
กิ่ง
ราก
ปากใบ
5. น้ำจะถูกลำเลียงไปตามท่อลำเลียงน้ำมาถึงใบ และน้ำจะแพร่ออกจากกลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและอาหาร เมื่อมองจากภายนอกเรียกว่าอะไร
ปากใบ ( Stoma )
ไซเล็ม (Xylem )
โฟลเอ็ม (Phloem )
เส้นใบ
6. เซลล์ที่ผิวใบไม้ไม่ได้เรียงตัวชิดกันตลอด แต่จะมีรูเล็ก ๆ จำนวนมาก เรียกว่าอะไร
ปากใบ ( Stoma )
ไซเล็ม (Xylem )
โฟลเอ็ม (Phloem )
เส้นใบ
7. เซลล์คุม(Guard Cell ) มีลักษณะอย่างไร
มะนาว 2 ลูก
ส้ม
ถั่ว
สตอเบอรี่
8. น้ำที่ต้นไม้ดูดไปใช้ มีเพียงบางส่วนที่นำไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่เหลือก็จะระเหยออกไปทางใด
ปากใบ ( Stoma )
ไซเล็ม (Xylem )
โฟลเอ็ม (Phloem )
เส้นใบ
9. กลุ่มเซลล์ที่ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารเรียกว่าอะไร
ท่อลำเลียง
เซลล์คุม
พารามีเซียม
เยื่อบุข้างแก้ม
10. อาหารจะถูกลำเลียงโดยวิธีการใด
การสังเคราะห์แสง
การสังเคราะห์โปรตีน
การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจน
การแพร่
ผลคะแนน =

กิจกรรม การแยกสาร




คำถาม    สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีลักษณะเนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนกันเป็นเนื้อเดียวกันเกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันโดยเนื้อสารจะแยกกันเป็นส่วน ๆ การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแม่เหล็ก การระเหิด การระเหยจนแห้ง ซึ่งเป็นการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม    ถ้านักเรียนตักน้ำคลองเพื่อมาเก็บไว้ใช้ประโยชน์ ซึ่งน้ำคลองที่นำมานั้นจะมีเม็ดดินกระจายอยู่ในน้ำและมีลักษณะเป็นสารแขวนลอยซึ่งทำให้น้ำขุ่น   นักเรียนจะมีวิธีทำให้น้ำคลองดังกล่าวใสได้อย่าง  (ให้ดูภาพข้างบนประกอบเพื่อใช้ในการตอบคำถาม) โดยให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

กิจกรรม เรื่องการจำแนกประเภทของสาร




คำถาม    ถ้านักเรียนจัด  หิน เหล็ก แก้ว ให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน แสดงว่านักเรียนใช้เกณฑ์อะไรในการจําแนกสารดังกล่าว  ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

กิจกรรม เรื่องการลอยและการจมของวัตถุ


 


คำถาม     เมื่อเราใส่ไข่ลงไปในแก้วที่เป็นน้ำธรรมดาไข่จะจม  แต่เมื่อเราใส่ไข่ลงไปในน้ำเกลือไข่จะลอยน้ำได้ สาเหตุเป็นเพราะน้ำเกลือมีความเข้มข้นกว่าน้ำ จึงพยุงไข่ให้ลอยได้  ถ้านักเรียนว่ายน้ำในสระว่ายน้ำ และเพื่อนของนักเรียนว่ายน้ำในทะเล นักเรียนคิดว่าใครสามารถลอยตัวในน้ำได้ดีที่สุด  เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น  ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

กิจกรรม เรื่องความดันของอากาศและความดันของเหลว




คำถาม    จากการทดลองขั้นตอนที่ 1 -3 ผลการทดลองที่ได้ คือ เมื่อเราคว่ำแก้วน้ำลงน้ำในแก้วไม่ไหลทะลักออกมา นักเรียนคิดว่าเป็นเพราะเหตุใด  และถ้าเราเอียงแก้วแล้วให้อากาศเข้าไปในแก้วน้ำจะเกิดขึ้น  ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

กิจกรรม เรื่องปัจจัยบางประการที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช



คำถาม   พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องอาศัยปัจจัยสำคัญต่างๆ ที่ช่วยในการเจริญเติบโต กล่าวคือ พืชต้องการ สารอาหาร ดิน แสงแดด แสงสว่าง  แร่ธาตุ  อากาศ  น้ำ อุณหภูมิ  เป็นต้น   ถ้าครอบครัวนักเรียนมีอาชีพปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานเอง นักเรียนจะมีวีธีการอย่างไรที่จะได้ผักสวนครัวที่มีลำต้นที่โต  แข็งแรง สมบูรณ์  ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment  

กิจกรรม เรื่องท่อลำเลียงและปากใบของพืช



คำถาม   จากภาพที่แสดงเป็นการทดลองเกี่ยวกับการลำเลียงน้ำของพืช  นักเรียนสามารถสรุปผลการทดลองนี้อย่างไร   ให้นักเรียนตอบในช่อง Comment